สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.
อาการ
ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้
ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ
ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก
การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี
จำหน่ายนาโนซิงค์ออกไซด์ ราคาทุน เพื่อเกษตรกร
ใช้สำหรับ การปลูกมันสำปะหลัง แช่ท่อนพันธุ์
และฉีดพ่นเร่งการเจริญเติบโต ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
นาข้าว ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดโรคต่างๆ ดังนี้โรคไหม้ โรคเมล็ดด่าง โรคกาบใบแห้ง
โรคใบจดสีน้ำตาล โรคกาบใบเน่า
โรคถอดฝักดาบ โรคใบวงสีน้ำตาลใช้สำหรับ การปลูกมันสำปะหลัง แช่ท่อนพันธุ์
และฉีดพ่นเร่งการเจริญเติบโต ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
นาข้าว ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดโรคต่างๆ ดังนี้โรคไหม้ โรคเมล็ดด่าง โรคกาบใบแห้ง
โรคใบจดสีน้ำตาล โรคกาบใบเน่า
โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคขอบใบแห้ง
โรคใบขีดโปร่งแสง โรคใบแถบแดง
สนใจติดต่อ อ.กฤษณะ และอ.อรวรรณ หัวหน้าโครงการวิจัย
โทร 089-2726540 และ 087-8436036
การสั่งซื้อ
ปรับปรุงราคาครับ
ปรับปรุงและเริ่มใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2557
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น