วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

โรคถอดฝักดาบ (Bakanae Disease)

โรคถอดฝักดาบ (Bakanae Disease)
พบมาก นาน้ำฝน ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สาเหตุ เชื้อรา Fusarium fujikuroi Nirenberg (Fusarium moniliforme J. Sheld)
อาการ พบโรคในระยะกล้า ต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่เกิน 7 วัน แต่มักพบกับข้าวอายุเกิน 15 วัน ระยะเริ่มแตกกอ ข้าวเป็นโรคจะต้นผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าวโดยทั่ว ๆ ไป
ต้นข้าวผอมมีสีเขียวอ่อนซีด มักย่างปล้อง บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้อง แต่รากจะเน่าช้ำเวลาถอนมักจะขาดตรงบริเวณโคนต้น ถ้าเป็นรุนแรงกล้าข้าวจะตาย หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดำได้ 15-45 วัน โดยที่ต้นเป็นโรคจะสูงกว่าข้าวปกติ ใบมีสีเขียวซีด เกิดรากแขนงที่ข้อลำต้นตรงระดับน้ำ บางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีชมพูตรงบริเวณข้อที่ย่างปล้องขึ้นมา ต้นข้าวที่เป็นโรคมักจะตายและมีน้อยมากที่อยู่รอดจนถึงออกรวง
การแพร่ระบาด เชื้อราจะติดไปกับเมล็ด สามารถมีชีวิตในซากต้นข้าวและในดินได้เป็นเวลาหลายเดือน พบว่า หญ้าชันกาด เป็นพืชอาศัยของโรค
จำหน่ายนาโนซิงค์ออกไซด์ ราคาทุน เพื่อเกษตรกร
ใช้สำหรับ การปลูกมันสำปะหลัง แช่ท่อนพันธุ์
และฉีดพ่นเร่งการเจริญเติบโต ลดการใช้ปุ๋ยเคมี
นาข้าว ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดโรคต่างๆ ดังนี้
โรคไหม้  โรคเมล็ดด่าง   โรคกาบใบแห้ง
โรคใบจดสีน้ำตาล
  โรคกาบใบเน่า
โรคถอดฝักดาบ  โรคใบวงสีน้ำตาล
โรคใบขีดสีน้ำตาล
  โรคขอบใบแห้ง
โรคใบขีดโปร่งแสง  โรคใบแถบแดง

โทร 089-2726540    และ 087-8436036

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น