วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ลมหนาว: วิจัยนาโนซิงค์ออกไซด์


ลมหนาว: วิจัยนาโนซิงค์ออกไซด์:    ซิงค์ออกไซด์เป็นวัสดุในกลุ่มโลหะออกไซด์ที่มีการนำมาใช้งานในรูปแบบของวัสดุนาโน ตัวอย่างการใช้นาโนซิงค์ออกไซด์ ได้แก่ การใช้งานในกลุ่มของอ...

วันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ข้าวไม่ออกรวง ใช้นาโน ซิงค์ออกไซด์

ใช้นาโนซิงค์ออกไซด์ ฉีดพ่นในฤดูหนาวช่วยให้ออกรวงได้ดี ไม่จู๋ รวงยาว และฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดโรคต่างๆ
แทนสารเคมีราคาแพง
ปลอดภัยต่อผู้ใช้ ใช้ได้กับนาอินทรีย์ นาชีวภาพ
โรคไหม้  โรคเมล็ดด่าง   โรคกาบใบแห้งโรคใบจดสีน้ำตาล  โรคกาบใบเน่าโรคถอดฝักดาบ  โรคใบวงสีน้ำตาลโรคใบขีดสีน้ำตาล  โรคขอบใบแห้งโรคใบขีดโปร่งแสง  โรคใบแถบแดง
ราคาเพียงกิโลกรัมละ 400 บาท
จัดส่งได้ทั่วประเทศ


สนใจโทร 0892726540 อ.กฤษณะ 
ราคาเพียงกิโลกรัมละ 400 บาท จัดส่งได้ทั่วประเทศ สนใจโทร 0892726540 อ.กฤษณะ 




ตารางราคาค่าส่ง ทั่วประเทศ



แก้หนาว ในนาข้าว

ใช้นาโนซิงค์ออกไซด์ ฉีดพ่นในฤดูหนาวช่วยให้ออกรวงได้ดี ไม่จู๋ รวงยาว และฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัดโรคต่างๆ ดังนี้โรคไหม้  โรคเมล็ดด่าง   โรคกาบใบแห้งโรคใบจดสีน้ำตาล  โรคกาบใบเน่าโรคถอดฝักดาบ  โรคใบวงสีน้ำตาลโรคใบขีดสีน้ำตาล  โรคขอบใบแห้งโรคใบขีดโปร่งแสง  โรคใบแถบแดง
ราคาเพียงกิโลกรัมละ 400 บาท
จัดส่งได้ทั่วประเทศ
สนใจโทร 0892726540 อ.กฤษณะ 
ราคาเพียงกิโลกรัมละ 400 บาท จัดส่งได้ทั่วประเทศ สนใจโทร 0892726540 อ.กฤษณะ 







ตารางค่าจัดส่ง เท่ากันทุกพื้นที่ทั่วประเทศไทย


วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ประโยชน์ของนาโนซิงค์ออกไซด์

สนใจสั่งซื้อ โทร 089-272-6540 อ.กฤษณะ

โรคแคงเกอร์มะนาว


รีบๆโทรกันนะครับ

จำหน่ายนาโนซิงค์ออกไซด์

จำหน่ายนาโนซิงค์ออกไซด์
เพื่อกำจัดและป้องกันโรคพืช
เช่น แคงเกอร์มะนาว
โรคที่เกิดจากรา และแบคทีเรีย
ราคา กิโลกรัมละ 400 บาท
ส่งได้ทั่วประเทศครับ
สนใจโทร 089-2726540 และ 087-8436036

ราคาค่าจัดส่ง ครับ

วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

นาโนซิงค์ออกไซด์ (ZnO)


ราคาค่าจัดส่ง ครับ
จำหน่ายนาโนซิงค์ออกไซด์ เพื่อการเกษตร และกำจัดกลิ่นโรงงานอุตสาหกรรม

วิจัยสารนาโนซิงค์ออกไซด์ ช่วยปลอดกลิ่นโรงงานอาหารสัตว์









กลิ่นจากโรงงานอาหารสัตว์นับเป็นปัญหาสำคัญที่สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนและชุมชนรอบข้าง
โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์นั้นมีวัตถุดิบหลายชนิดที่ส่งกลิ่นรบกวน
ซึ่งสามารถแพร่กระจายได้ไกลหลายกิโลเมตร และมักมีข่าวให้เห็นกันบ่อยครั้ง
เกี่ยวกับเรื่องการร้องเรียนเกี่ยวกับโรงงานที่ส่งกลิ่นรบกวน
โดยล่าสุดทีมนักวิจัยของโรงเรียนนาบ่อคำวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 41
โดย อาจารย์กฤษณะ สาลีเจริญ และอาจารย์อรวรรณ บุญรอด
ซึ่งเคยสร้างชื่อคว้ารางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ในการประกวดนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีระดับประเทศครั้งที่ 3
 จัดโดยวิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
และยังเป็นหัวหน้าโครงการหมู่บ้านนาโนเทคโนโลยีข้าวและมันสำปะหลังพระจอมเกล้าลาดกระบัง
ได้รับการติดต่อจาก บริษัท เฮกซ่า แคลไซด์ เนชั่น จำกัด ซึ่งเป็นโรงงานผลิตอาหารสัตว์
ตั้งอยู่ที่อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

น.สพ.ชูโชค ใยบัวเทศ ผู้จัดการโรงงาน ได้เล่าให้ฟังว่าโรงงานแห่งนี้ผลิตอาหารสัตว์หลากหลายชนิด อาทิ อาหารปลา อาหารกบ อาหารแมว เป็นต้น ตลอดระยะเวลาที่เปิดโรงงานมาร่วม 20 ปี มีการร้องเรียนจากชาวบ้านและชุมชนรอบๆ โรงงานถึงปัญหากลิ่นที่มาจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ ซึ่งทางโรงงานเองไม่ได้นิ่งนอนใจ พยายามหาทางแก้ไขปัญหามาโดยตลอด โดยในระยะแรกได้มีการนำคลอรีน (Chlorine) ที่ใช้ในการผลิตน้ำประปามาใช้ในการกำจัดกลิ่น ผลที่ตามมาคือก๊าซคลอรีนทำให้อุปกรณ์และส่วนประกอบของโรงงานเป็นสนิม ได้รับความเสียหาย เนื่องจากคลอรีนมีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะ จึงได้เปลี่ยนมาใช้น้ำยาปรับผ้านุ่มที่มีกลิ่นหอมแทน โดย
ติดต่อบริษัทผู้ผลิตยี่ห้อหนึ่งทำการผลิตให้โดยเฉพาะ แต่ผลที่ได้ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ยังมีการร้องเรียนเป็นระยะๆ ต่อมา ได้มีการนำจุลินทรีย์ทนความร้อนที่ใช้กำจัดของเสียเข้ามาใช้เพื่อการกำจัดกลิ่นแต่ผลที่ได้รับก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ กระทั่งได้ศึกษาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตพบว่ามีการนำอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์มาใช้ในการดับกลิ่นได้ จึงได้ติดต่อกับ อ.กฤษณะ สาลีเจริญ เพื่อขอคำปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่ประสบอยู่โดยให้ข้อมูลของโรงงานที่คิดว่าเป็นประโยชน์เพื่อการศึกษาค้นคว้า และได้ร่วมกันวางแผนเพื่อหาทางแก้ไขปัญหากลิ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์
ด้าน อ.กฤษณะ สาลีเจริญ เปิดเผยว่า การกำจัดกลิ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์จากโรงงานนั้น วิธีที่ได้รับความนิยมมากคือการใช้ Wet Scrubber ซึ่ง Wet Scrubber เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับกำจัดแก๊สและไอ (Gas and Vapor) ตลอดจนอนุภาคที่มีขนาดเล็ก โดยใช้ของเหลว เช่น น้ำ เป็นตัวดักจับ ด้วยการพ่นฉีดของเหลวหรือน้ำให้เป็นละอองฝอยขนาดเล็กให้กระจายไปปะทะกับกระแสแก๊ส โดยการกระทบจากความเฉื่อยซึ่งเป็นกลไกหลักในการสกัดกั้นและการแพร่ ทั้งนี้ สครับเบอร์ (Scrubber) หรือ Wet Scrubber มีด้วยกันหลายชนิดแต่ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ สครับเบอร์แบบสเปรย์ (Spray Tower Scrubber) และสครับเบอร์แบบมีเดีย (Packed Bed Scrubber) ระบบสครับเบอร์ (Scrubber) มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ พัดลมดูดอากาศ (Exhaust Fan) : ทำหน้าที่ดูดอากาศเสีย
เข้าสู่สครับเบอร์ (Scrubber) ปั๊ม (Circulation Pump) : ทำหน้าที่ดูดน้ำจากถังหมุนเวียนน้ำไปสู่หัวฉีด (Nozzle) และฉีดเป็นละอองฝอยไปทั่วทั้งสครับเบอร์ โดยตัวสครับเบอร์ (Scrubber Main Body) ประกอบไปด้วย 1.ตัวเพิ่มพื้นที่ในการกระจายตัวของแก๊ส (Scrubber Tower Packing) ทำหน้าที่ในการช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการสัมผัสกันระหว่างแก๊สกับของเหลว 2.หัวฉีดสเปรย์ (Spray nozzle) ทำหน้าที่ฉีดน้ำให้ทั่วถึงอย่างสม่ำเสมอภายในตัวสครับเบอร์ (Scrubber) 3.ตัวดักจับละอองน้ำ (Mist Separator) ทำหน้าที่ดักจับละอองน้ำที่เกิดจากการฉีดสเปรย์ในสครับเบอร์ (Scrubber) ไม่ให้หลุดออกไปภายนอกเพราะจะนำพาแก๊สเสียปนออกไปด้วย ถังหมุนเวียนน้ำ (Circulation Tank) : ทำหน้าที่เก็บกักน้ำไว้สำหรับหมุนเวียนใช้ในระบบสครับเบอร์ (Scrubber) เป็นอุปกรณ์สำหรับดักจับแก๊สเสีย โดยหลักการทำงานของสครับเบอร์ (Scrubber) ตาม Flow Diagram เป็นดังนี้ พัดลม (Fan) จะดึงแก๊สเสียจากแหล่งกำเนิดเข้าสู่สครับเบอร์ (Scrubber) ซึ่งมีน้ำบรรจุอยู่ในส่วนของ Circulation Tank จากนั้น Pump ก็จะทำการสูบน้ำจาก Circulation Tank ขึ้นไปยังส่วนบนของสครับเบอร์ (Scrubber) และปล่อยให้น้ำฉีดสเปรย์เป็นละอองฝอยด้วย Spray nozzle ซึ่งละอองน้ำที่ฉีดลงมาจะไหลในทิศทางที่สวนกันกับแก๊ส และทำการดักจับแก๊สเสีย ส่วนของน้ำที่ทำปฏิกิริยากับแก๊สจะมีการปล่อยออกจากสครับเบอร์ (Scrubber) โดยผ่าน Over flow ดังนั้นจึงต้องมีการเติมน้ำ Fresh Water เข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาสมดุลของน้ำภายในระบบและเพื่อเจือจางน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากการบำบัดแก๊ส โดยในกระบวนการทั้งหมดนี้เป็นกระบวนการที่โรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปมีอยู่แล้ว เพียงแต่การใช้น้ำเพียงอย่างเดียวไม่สามารถทำให้กลิ่นหมดไปได้ ทางทีมงานจึงได้มีการเติมอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์เพื่อทำให้การกำจัดกลิ่นมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อ.อรวรรณ บุญรอด กล่าวเสริมว่า นอกจากการกำจัดกลิ่นที่มีประสิทธิภาพแล้ว จากการตรวจสอบระบบ สครับเบอร์ (Scrubber) หลังจากการใช้อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ พบว่าชิ้นส่วนของมีเดีย (Media) จากเดิมที่จะมีความสกปรกมากนั้น แต่หลังจากใช้อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ปรากฏว่ามีความสะอาดเหมือนใหม่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นผลดีตรงที่ไม่ต้องเปลี่ยนมีเดีย (Media) ทำให้ประสิทธิภาพมีมากขึ้น และการตรวจบริเวณคูลลิ่งทาวเวอร์ จากเดิมที่เคยพบคราบสกปรกและตะไคร่น้ำ โดยหลังจากการใช้อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ผสมลงในกระบวนการบำบัด ก็ไม่พบคราบสกปรกและตะไคร่น้ำอีกด้วย นับว่าเป็นนวัตกรรมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ระบบสครับเบอร์ (Scrubber) และมีคูลลิ่งทาวเวอร์ เพราะอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์สามารถช่วยทั้งการกำจัดกลิ่นและยังทำความสะอาดระบบไปในครั้งเดียวกัน ทำให้ไม่เสียค่าใช้จ่ายซ้ำซ้อน สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมใดที่ต้องการข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่โรงเรียนนาบ่อคำวิทยาคม โทร.055-763308 หรือติดต่อโดยตรงที่ อ.กฤษณะ และอาจารย์อรวรรณ โทร.08-9272-6540, 08-7843-6036 โดยทีมวิจัย ยินดีให้ข้อมูลและคำปรึกษาโดยละเอียดกับโรงงานที่ประสบปัญหา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด